(Translate section to Thai.) |
(Translate more sections to Thai.) |
||
(17 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 156: | Line 156: | ||
{{Anchor|dvd-playback}} | {{Anchor|dvd-playback}} | ||
=== | === ทำไมฉันถึงเล่นแผ่นหนังใน Fedora ไม่ได้ล่ะ? === | ||
เพราะแผ่นหนัง DVD อยู่ภายใต้สิทธิบัตรซึ่งเข้ากันไม่ได้กับสัญญาการใช้งานของ Fedora นอกจากนั้นแผ่น DVD ส่วนใหญ่ยังมีเทคโนโลยีป้องกันการคัดลอกแผ่น ทำให้โปรแกรมที่ใช้อ่านแผ่นเหล่านั้นละเมิดกฏหมาย Digital Millennium Copyright Act (DMCA) ซึ่งเป็นกฏหมายลิขสิทธิ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา | |||
Fedora | Fedora สนับสนุนและแจกจ่ายเฉพาะซอฟ์ทแวร์ฟรีและโอเพนซอร์สเท่านั้น เทคโนโลยีที่อยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรจึงไม่สามารถถูกรวมอยู่ใน Fedora ได้ ถ้าคุณต้องการดูหนังฟังเพลงใน Fedora หรือดูแผ่นหนัง DVD กรุณาอ่านที่ส่วน [[Multimedia|มัลติมีเดีย]] | ||
{{Anchor|proprietary-software}} | {{Anchor|proprietary-software}} | ||
Fedora | === ทำไม Fedora ถึงไม่มีซอฟท์แวร์ Adobe's Acrobat Reader, Adobe's Flash Player, หรือ RealPlayer ล่ะ? === | ||
Fedora สนับสนุนและแจกจ่ายเฉพาะซอฟ์ทแวร์ฟรีและโอเพนซอร์ส โปรแกรมที่ไม่อยู่ในเงื่อนไขสองข้อที่ว่านั้นไม่สามารถถูกรวมอยู่ใน Fedora ได้ อย่างไรก็ตามคุณสามารถดาว์นโหลดซอฟท์แวร์เหล่านี้จากเว็ปไซต์ของบริษัทผู้ผลิตเพื่อใช้งานใน Fedora ได้ถ้าต้องการ สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม ลองอ่านหน้า [[ForbiddenItems|สิ่งต้องห้าม]] | |||
{{Anchor|java}} | {{Anchor|java}} | ||
=== Fedora มี Java หรือเปล่า? === | |||
มีสิ Fedora ใช้ OpenJDK ซึ่งเป็น Java ภายใต้สัญญาการใช้งานแบบฟรีและโอเพนซอร์ส ลองดูหน้า [[JavaFAQ]] สำหรับการใช้ Java ใน Fedora | |||
{{Anchor|selinux}} | {{Anchor|selinux}} | ||
Fedora | === อะไรคือ SELinux และฉันจะหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมันได้ที่ไหน? === | ||
Fedora เป็นระบบปฏิบัติการใหญ่อันดับต้น ๆ ที่ใช้ระบบความปลอดภัย Mandatory Access Control (MAC) ผ่าน SELinux framework การตั้งค่า SELinux ใน Fedora ช่วยเพิ่มความปลอดภัยโดยจำกัดสิทธิ์ของ process ที่ทำงานในระบบ การจำกัดสิทธิ์ดังกล่าวช่วยทำให้ปัญหาด้านความปลอดภัยของซอฟท์แวร์แต่ละตัวไม่ลามไปสู่ทั่วทั้งระบบ เพราะซอฟท์แวร์ที่มีปัญหาสามารถเข้าถึงทรัพยากรของระบบแค่บางส่วนเท่านั้น | |||
สำหรับสภาพแวดล้อมที่ต้องการความปลอดภัยขั้นสูง SELinux ยังมี policy แบบ 'strict' ซึ่งเป็นนโยบายแบบเข้มงวดที่สุดไว้ให้ใช้ด้วย นอกจากนั้นยังมีระบบความปลอดภัยที่ใช้ SELinux framework อื่น ๆ อีกเช่น MLS, MCS และ RBAC | |||
ลองอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ SELinux ใน Fedora ได้ที่: | |||
* [[SELinux]] | * [[SELinux]] | ||
Line 183: | Line 188: | ||
{{Anchor|xen}} | {{Anchor|xen}} | ||
{{Anchor|virt}} | {{Anchor|virt}} | ||
=== อะไรคือ Virtualization? และฉันจะเรียนรู้วิธีใช้งานมันได้ที่ไหน? === | |||
Fedora สนับสนุน virtualization ซึ่งทำให้คุณสามารถใช้ระบบปฏิบัติการหลายระบบได้พร้อมกันบนเครื่องเครื่องเดียว โดยระบบปฏิบัติการแต่ละระบบจะได้รับการแบ่งปันทรัพยากรบางส่วนจากระบบปฏิบัติการหลังบนเครื่อง host นอกจากนั้นผู้ดูแลระบบยังสามารถย้ายระบบปฏิบัติการที่ทำงานอยู่ไปยังเครื่องอื่นได้โดยไม่ทำให้ขาดช่วงการใช้งานอีกด้วย | |||
ลองอ่านหน้า [[Virtualization]] ดูสิ | |||
{{Anchor|schedule}} | {{Anchor|schedule}} | ||
=== | === Fedora เวอร์ชั่นถัดไปจะออกเมื่อไหร่? พอจะมีหมายกำหนดการไหม? === | ||
หมายกำหนดการสำหรับเวอร์ชั่นถัดไปอยู่ที่หน้า [[Releases/Schedule | Fedora Project Releases Schedule]] | |||
{{Anchor|lifecycle}} | {{Anchor|lifecycle}} | ||
Fedora | === Fedora แต่ละรุ่นจะได้รับการสนับสนุนจนถึงเมื่อไหร่? === | ||
การสนับสนุนของแต่ละรุ่นจะสิ้นสุดลงประมาณหนึ่งเดือนหลังจากออกรุ่นถัดไป 2 รุ่น ลองอ่านเกี่ยวกับอายุของแต่ละรุ่นที่นี่: | |||
* [[LifeCycle]] | * [[LifeCycle]] | ||
{{Anchor|EOL}} | {{Anchor|EOL}} | ||
=== ฉันจะหาข้อมูลเกี่ยวกับอัพเดตความปลอดภัยของ Fedora ได้ที่ไหน? === | |||
ดูที่หน้า [[FSA | Fedora Security Advisories]] | |||
{{Anchor|errata-policy}} | {{Anchor|errata-policy}} | ||
=== นโยบายการอัพเดตของ Fedora Project เป็นยังไง? === | |||
การออกอัพเดตสำหรับแก้ไขปัญหาความปลอดภัย แก้ไขบั๊ก และเพิ่มฟีเจอร์ใหม่นั้นเป็นได้รับการสนับสนุนจาก Red Hat และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การอัพเดตจะทำเป็นขั้นตอน โดยมีการแจ้งสู่สาธารณะเพื่อให้วิพากย์วิจารณ์ และเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมก็จะถูกปล่อยออกเพื่อใช้งาน ในกรณีเลยร้ายที่สุด แพคเกจที่มีปัญหาอาจถูกถอดออกจาก Fedora Project ถ้าช่องโหว่ด้านความปลอดภัยนั้นร้ายแรงและส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อโปรเจคโดยรวม | |||
การออกอัพเดตนั้นไม่ถือเป็นการสนับสนุนอย่างเป็นทางการ แต่เป็นเสมือนการพัฒนาซอฟท์แวร์นั้น ๆ อย่างต่อเนื่องโดยแก้ไขข้อผิดพลาด อัพเดตที่อาจมีผลต่อความเสถียรหรือเรื่องความปลอดภัยอาจถูกปล่อยให้กับนักพัฒนาเพื่อทดลองใช้งานก่อนที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะในอนาคต นอกจากนั้นการอัพเดตระบบอย่างสม่ำเสมอก็ไม่เทียบเท่าการอัพเกรด release ใหม่ ถ้าคุณต้องการใช้ Fedora เวอร์ชั่นใหม่ คุณจะต้องทำการอัพเกรดดิสทริบิวชั่นเอง สำหรับระยะเวลาการสนับสนุนการอัพเดตของแต่ละเวอร์ชั่นคุณสามารถอ่านได้ที่หน้า [[LifeCycle]] | |||
ข้อตกลงการสนับสนุน หรือ SLA (Service Level Agreement) จาก Red Hat นั้นไม่ครอบคลุมถึงอัพเดตสำหรับ Fedora Project ด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการอัพเดตเพื่อแก้ไขช่องโหว่ด้านความปลอดภัย แต่การอัพเดตแพคเกจจากโปรเจคอื่น ๆ นั้นขึ้นอยู่กับทีมที่พัฒนาซอฟท์แวร์เหล่านั้น ถ้านักพัฒนาไม่ตอบสนองต่อปัญหาด้านความปลอดภัยที่ได้รับแจ้งในเวลาที่สมควร Red Hat อาจสงวนสิทธิ์ในการปลดระวาง (deprecate) แพคเกจเหล่านั้นชั่วคราว หากผู้ใช้ต้องการได้รับการสนับสนุนแบบ SLA ผู้ใช้จะต้องซื้อ Red Hat Enterprise Linux ในแบบที่เหมาะกับการใช้งานของตัวเอง | |||
{{Anchor|pre-upgrading}} | {{Anchor|pre-upgrading}} | ||
=== ฉันใช้ Fedora เวอร์ชั่นเบต้าอยู่ จะอัพเกรดเป็นเวอร์ชั่น final ได้หรือเปล่า? === | |||
ได้สิ ลองอ่านหน้า [[Upgrading from pre-release to final|อัพเกรดจากเวอร์ชั่นเบต้าเป็น final]] | |||
{{Anchor|upgrading}} | {{Anchor|upgrading}} | ||
=== ฉันใช้ Fedora เวอร์ชั่นเก่าอยู่ จะอัพเกรดได้ยังไง? === | |||
สำหรับวิธีการอัพเกรด กรุณาอ่านหน้า [[DistributionUpgrades|การอัพเกรดดิสทริบิวชั่น]] | |||
{{Anchor|support}} | {{Anchor|support}} | ||
== | |||
== ความช่วยเหลือ == | |||
{{Anchor|finding-help}} | {{Anchor|finding-help}} | ||
=== | === ฉันจะขอความช่วยเหลือได้ที่ไหน? === | ||
นอกจากเอกสารในอินเทอร์เน็ตแล้ว คุณสามารถขอความช่วยเหลือได้ผ่านออนไลน์ฟอรัม ห้องแชท และเมล์ลิสต์ของชุมชน Fedora ลองดูที่หน้า [[Communicate]] | |||
กรุณาอย่าติดต่อนักพัฒนา Fedora โดยตรงหรือใช้ช่องสื่อสารสำหรับนักพัฒนาเพื่อขอความช่วยเหลือในการใช้งาน เนื่องจากนักพัฒนามักจะยุ่งอยู่กับการเขียนและดูแลซอฟท์แวร์ ทำให้ไม่ค่อยมีเวลาตอบคำถามเกี่ยวกับการใช้งานเท่าไหร่นัก | |||
{{Anchor|glossary}} | {{Anchor|glossary}} | ||
=== | === ฉันได้ยินคำศัพท์ที่ไม่ค่อยคุ้นเลย มีที่ไหนที่อธิบายคำเหล่านี้มั้ย? === | ||
กรุณาดูที่หน้า [[FAQ/Glossary| Glossary]] | |||
{{Anchor|bug-reports}} | {{Anchor|bug-reports}} | ||
=== | === ฉันจะรายงานบั๊กหรือขอฟีเจอร์ของแพคเกจใน Fedora ได้ยังไง? === | ||
กรุณาดูที่หน้า [[BugsAndFeatureRequests|รายงานบั๊กและขอฟีเจอร์ใหม่]] | |||
{{Anchor|security}} | {{Anchor|security}} | ||
=== | === ฉันจะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยใน Fedora ได้ยังไง? และจะรายบั๊กเรื่องนี้ได้ยังไง? === | ||
กรุณาดูที่หน้า [[Security|ความปลอดภัย]] | |||
{{Anchor|hardware-problems}} | {{Anchor|hardware-problems}} | ||
=== | === ฉันคิดว่าพบปัญหาที่เกิดจากฮาร์ดแวร์ของฉัน จะทำยังไงดี? === | ||
ลองตรวจสอบที่หน้า [[HardwareProblems|ปัญหาเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์]] ก่อนที่จะรายงานบั๊ก | |||
{{Anchor|newer-version}} | {{Anchor|newer-version}} | ||
=== | === ฉันจะขอแพคเกจเวอร์ชั่นใหม่ใน Fedora ได้ที่ไหน? === | ||
ยื่นคำขอที่ http://bugzilla.redhat.com สำหรับแพคเกจที่คุณต้องการให้อัพเดต ถ้าสามารถระบุรายละเอียดเพิ่มเติมด้วยว่าทำไมคุณถึงต้องการเวอร์ชั่นใหม่ก็จะมีประโยชน์ต่อผู้ดูแลแพคเกจมาก | |||
{{Anchor|other-help}} | {{Anchor|other-help}} | ||
=== | === ฉันมีคำถามอื่นอีก จะขอความช่วยเหลือได้ที่ไหน? === | ||
ลองดูที่หน้า [[#links| Fedora Resources]] ที่ด้านท้ายของหน้านี้ | |||
{{Anchor|donate}} | {{Anchor|donate}} | ||
=== | === ฉันจะบริจาคเงินให้ Fedora Project ได้หรือเปล่า? === | ||
ได้สิ คุณสามารถบริจาคทั้งเวลาของคุณเพื่อช่วย Fedora Project หรือจะบริจาคเงินก็ได้ (แต่อาจจะต้องใช้ความพยายามนิดนึงนะ) ลองอ่านหน้า [[Contribute|วิธีการช่วย]] | |||
{{Anchor|about}} | {{Anchor|about}} | ||
== | == เกี่ยวกับ Fedora == | ||
{{Anchor|what-is-fedora}} | {{Anchor|what-is-fedora}} | ||
=== | === Fedora คืออะไร? === | ||
{{Template:FedoraDict/Fedora}} | {{Template:FedoraDict/Fedora}} | ||
ลองดูหน้า [[Overview]] | |||
{{Anchor|objectives}} | {{Anchor|objectives}} | ||
=== | === อะไรคือวัตถุประสงค์ของ Fedora? === | ||
* [[Objectives]] | * [[Objectives]] | ||
{{Anchor|why-project}} | {{Anchor|why-project}} | ||
=== | === ทำไมถึงเรียกว่าโปรเจคแทนที่จะเป็นผลิตภัณฑ์? === | ||
คณะกรรมการกำหนดแนวทางที่ Red Hat ได้ตัดสินใจจากบทเรียนที่ได้รับตอนสร้าง Red Hat Linux และคิดว่าแทนที่จะต้องแลกหลักการหลาย ๆ อย่าง บริษัทควรจะทุ่มเทไปกับการสร้างโปรเจคที่ถูกผลักดันโดยชุมชนมากกว่า ถ้าเป็นเช่นนี้ Fedora ก็จะไม่ต้องถูกกดดันเส้นตายในการออกผลิตภัณฑ์เวอร์ชั่นใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองต่อตลาดเหมือนผลิตภัณฑ์ทางการค้า แต่จะถูกกำหนดโดยชุมชนเอง | |||
* [[Projects]] | * [[Projects]] | ||
{{Anchor|project-benefits}} | {{Anchor|project-benefits}} | ||
=== | === การเปลี่ยนเป็นโปรเจคมีผลดียังไง? === | ||
การเปลี่ยนจากผลิตภัณฑ์เป็นโปรเจคทำให้: | |||
* | * ผู้ใช้ได้รับซอฟท์แวร์รุ่นใหม่ล่าสุดเท่าที่จะทำได้ | ||
* | * เปิดโอกาสให้นักพัฒนาและผู้ใช้ได้ร่วมกันสร้างกระบวนการทำงานที่เหมาะสมให้กับตัวเองและ Fedora Project | ||
* | * ทำให้ Fedora Project สามารถพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ดีเยี่ยมได้อย่างต่อเนื่อง | ||
* | * ทำให้การพัฒนาเร็วยิ่งขึ้น โดยใช้วิธีการทำงานแบบโอเพนซอร์ส | ||
{{Anchor|formal-support}} | {{Anchor|formal-support}} | ||
=== | === Red Hat จะให้การสนับสนุนทางเทคนิคกับ Fedora Project ด้วยหรือเปล่า? === | ||
เปล่า Fedora Project จะไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการทั้งทางโทรศัพท์หรือทางอื่น ๆ จาก Red Hat จริงอยู่ที่ผลิตภัณฑ์จาก Red Hat ใช้บางส่วนที่พัฒนาจาก Fedora แต่การพัฒนาของ Fedora นั้นแยกทำโดยเป็นเอกเทศและไม่เกี่ยวกันกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ Red Hat | |||
{{Anchor|availability}} | {{Anchor|availability}} | ||
=== | === Fedora Project จะถูกปล่อยสู่สาธารณะได้ยังไง? === | ||
Fedora | Fedora จะออกเวอร์ชั่นใหม่ในรูปแบบ ISO image สำหรับแผ่น CD และ DVD และยังถูกแจกจ่ายเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับขายผ่านบริษัทที่ขายผ่านช่องทางออนไลน์ด้วย โดยอาจถูกแจกจ่ายที่การประชุมกลุ่มผู้ใช้ลีนุกซ์ หรือพ่วงไปกับนิตยสารหรือหนังสือ หรือแม้แต่ถูกแจกจ่ายในงานนิทรรศการ นอกจากนั้น Fedora ยังอาจถูกเผยแพร่ผ่านทางเครือข่ายสำหรับแชร์เนื้อหา เช่น BitTorrent ด้วย | ||
{{Anchor|retail}} | {{Anchor|retail}} | ||
=== | === Fedora จะถูกวางขายตามร้านหรือเปล่า? === | ||
Fedora | Fedora จะไม่ถูกแพ็คใส่กล่องและวางขายตามร้าน และจะไม่มีราคาตั้งด้วย การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ Fedora นั้นคงไม่เหมาะสำหรับการวางขายตามร้าน — เพราะกว่าจะทำผลิตภัณฑ์ใส่กล่องออกมาได้นั้นต้องใช้เวลาและทรัพยากรมากมาย ถ้าต้องทำแพคเกจจิ้งสำหรับเวอร์ชั่นใหม่ที่ออกทุก ๆ 6 เดือนคงเป็นเรื่องที่ยากทีเดียว | ||
นอกจากนั้นการออกดีไซน์และผลิตหีบห่อก็ทำให้เสียเวลาในการวางขาย ซึ่งทำให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้ซอฟท์แวร์ล่าสุดได้ตั้งแต่ตอนที่ออกใหม่ ถ้าคุณสนใจซื้อสินค้าเราแนะนำให้คุณลองดูผลิตภัณฑ์ของ Red Hat ที่เว็ปไซต์ของบริษัทฯ | |||
{{Anchor|term-differences}} | {{Anchor|term-differences}} | ||
=== | === อะไรคือความแตกต่างระหว่าง "Fedora ดิสทริบิวชั่น", "The Fedora Project" และ "Fedora"? === | ||
''Fedora Project'' ประกอบไปด้วยโปรเจคย่อยหลายโปรเจค ''Fedora ดิสทริบิวชั่น'' คือโปรเจคแม่ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแพลทฟอร์มหลัก ส่วน ''Fedora'' คือชื่อที่ใช้หมายถึง ''Fedora Project'' โดยรวม แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึง ''Fedora'' ที่เป็นระบบที่ประกอบไปด้วยซอฟท์แวร์ต่าง ๆ ใน Fedora Project | |||
{{Anchor|contacting-subprojects}} | {{Anchor|contacting-subprojects}} | ||
=== | === ฉันจะติดต่อผู้ดูแลโปรเจคย่อยได้ยังไง? === | ||
เริ่มจากเมล์ลิสต์ของโปรเจคนั้น ๆ ก่อน คุณสามารถติดต่อผู้นำโปรเจคและสมาชิกของโปรเจคผ่านช่องทางนี้ได้ดีที่สุด นอกจากนั้นคุณยังสามารถไปดูที่หน้า [[Communicate|การสื่อสาร]] | |||
{{Anchor|Government}} | {{Anchor|Government}} | ||
=== | === Fedora Project มีการจัดการและบริหารยังไง? === | ||
Fedora Project ถูกดูแลโดย [[Fedora Council]] ซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกชุมชนที่ได้รับเลือก และบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งที่ลงแรงให้โปรเจคและได้รับการยอมรับ และตำแหน่งอื่นที่แต่งตั้งโดย Red Hat | |||
Fedora Project ประกอบไปด้วย [[Projects| โปรเจค]]ย่อย ๆ หลายโปรเจค ซึ่งรวมตัวกันเป็นแพลทฟอร์มซึ่งถูกบริหารโดยชุมชน โปรเจคย่อยต่าง ๆ เป็นเอกเทศต่อกัน แต่ในขณะเดียวกันก็ทำงานร่วมกันตามแนวทางส่วนรวมที่กำหนดเอาไว้ | |||
โปรเจคย่อยแต่ละโปรเจคจะมีผู้นำหรือกลุ่มผู้นำซึ่งเป็นผู้จัดการและนำการพัฒนาของโปรเจค การทำงานใน Fedora Project นั้นเป็นไปตามหลัก [http://en.wikipedia.org/wiki/Meritocracy ผู้นำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ] ซึ่งจะให้อำนาจและความรับผิดชอบแก่บุคคลที่มีความสามารถและทุ่มเทกำลังกายและใจมากกว่าคนอื่น คนที่ได้รับเลือกให้เป็นผู้นำก็เพราะพวกเขาพิสูจน์แล้วว่าสามารถเป็นได้และก็ยินดีที่จะเป็น | |||
* [[Council]] | * [[Council]] | ||
Line 344: | Line 360: | ||
{{Anchor|project-mgmt}} | {{Anchor|project-mgmt}} | ||
=== | === โปรเจคย่อยของ Fedora มีการบริหารจัดการอย่างไร? === | ||
แต่ละโปรเจคจะมีผู้นำโปรเจคหรือกลุ่มที่ปรึกษาที่คอยนำทิศทาง โดยปกติบุคคลที่เข้าร่วมจะมีอิสระในการเลือกงานที่ต้องการทำพอสมควร โดยมีข้อแม้เพียงแค่ให้ทำตามข้อกำหนดของกลุ่มที่ปรึกษา และมีการแจ้งเมื่อจะสร้างอะไรใหม่ ๆ | |||
เช่นเดียวกันกับโปรเจค Fedora โดยรวม สมาชิกภาพของแต่ละคนขึ้นอยู่กับประโยชน์ที่สมาชิกนั้น ๆ ทำให้กับโปรเจค และการนำเสนอไอเดียและแนวคิดใหม่ ๆ ก็มักจะถูกรับฟังและสร้างชื่อให้กับสมาชิกที่นำเสนอในชุมชน | |||
สมาชิกของโปรเจคสามารถร่วมพูดคุยกับคณะที่ปรึกษาได้ในห้อง IRC การประชุมนี้เป็นการประชุมเปิดซึ่งมีบันทึกการประชุมเพื่อให้สาธารณะชนได้อ่านตลอดเวลา บางครั้งประวัติการสนทนาในห้องแชทก็ถูกบันทึกไว้เพื่อเผยแพร่ด้วย | |||
โปรเจคย่อยต่าง ๆ มักเก็บหมายกำหนดการของตัวในวิกิแห่งนี้ ลองดูที่หน้า [[Projects]] เพื่อลิงก์ไปยังข้อมูลของโปรเจคย่อยแต่ละโปรเจค | |||
{{Anchor|task-assignment}} | {{Anchor|task-assignment}} | ||
=== | === Fedora เป็นคนจ่ายงานให้กับสมาชิก หรือสมาชิกเป็นคนกำหนดเอง? === | ||
สมาชิกที่สนใจเป็นคนเสนอตัวเพื่อรับงานที่ตัวเองต้องการทำ อย่างไรก็ตามเพื่อไม่ให้เป็นการเสียแรงซ้ำซ้อน เราแนะนำให้คุณแจ้งเมล์ลิสต์ของโปรเจคที่คุณต้องการร่วมงานด้วยเพื่อให้สมาชิกคนอื่นได้รับทราบว่าคุณกำลังจะทำงานอะไร ถ้าคุณยังนึกไม่ออกว่าจะทำอะไรดี ลองดูที่หน้า [[Join| เข้าร่วม]] เพื่อดูหัวข้อต่าง ๆ ที่คุณสามารถช่วยได้ และถ้าคุณต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูที่หน้า [[Mentors| Fedora Mentors]] | |||
* [[Join]] | * [[Join]] | ||
{{Anchor|k12-nonprofit}} | {{Anchor|k12-nonprofit}} | ||
=== | === Fedora มีส่วนร่วมกับโรงเรียนหรือองค์กรไม่แสวงหาประโยชน์ทางการค้าด้วยหรือเปล่า? === | ||
ณ ปัจจุบันนี้ยังไม่มี ถ้าคุณมีไอเดียดี ๆ สำหรับการมีส่วนร่วมที่ต้องการนำเสนอ กรุณาแจ้งไปที่ [[Marketing| การตลาดของ Fedora]] โรงเรียนหรือองค์กรฯ ที่สนใจสามารถเข้าร่วมการสนทนาได้ | |||
{{Anchor|lugs}} | {{Anchor|lugs}} | ||
=== | === Fedora กับ LUGs มีความเกี่ยวข้องกันหรือเปล่า? === | ||
เราพยายามทำงานร่วมกับ Linux User Groups มากเท่าที่จะทำได้ รายชื่อผู้ติดต่อของ LUG อยู่ในหน้า LinuxUserGroups ถ้าคุณต้องการเป็นตัวแทน LUG ของคุณ กรุณาเพิ่มชื่อ LUG ของคุณไปที่หน้าดังกล่าว | |||
{{Anchor|referencing-marks}} | {{Anchor|referencing-marks}} | ||
Line 443: | Line 459: | ||
{{Anchor|contributors}} | {{Anchor|contributors}} | ||
== | == สำหรับผู้มีส่วนร่วมใน Fedora == | ||
{{Anchor|new-ideas}} | {{Anchor|new-ideas}} | ||
=== | === มีไอเดียใหม่ ๆ อะไรที่สำคัญกับ Fedora บ้าง? === | ||
ลองดูหน้า [[FedoraBounties]] เพื่อดูไอเดียที่สำคัญสำหรับ Fedora สิ | |||
{{Anchor|contribute-packaging}} | {{Anchor|contribute-packaging}} | ||
=== | === ฉันจะแพคเกจซอฟท์แวร์ให้ผู้ใช้ Fedora ได้ยังไง? และฉันจะหาข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยทำแพคเกจได้ที่ไหน? === | ||
หน้า [[:Category:Package Maintainers | หมวดหมู่ผู้ดูแลแพคเกจ]] จะช่วยคุณได้ | |||
{{Anchor|contribute-documentation}} | {{Anchor|contribute-documentation}} | ||
=== | === ฉันจะหาข้อมูลในการมีส่วนร่วมกับ Fedora Documentation Project ได้ที่ไหน? === | ||
ลองดูลิงก์ที่หน้า [[DocsProject]] ดูสิ | |||
{{Anchor|links}} | {{Anchor|links}} | ||
* [http://docs.fedoraproject.org/release-notes/ Release Notes] | == ฉันจะหาคำตอบสำหรับคำถามอื่นได้ที่ไหน? == | ||
* [http://bugzilla.redhat.com/ Red Hat's Bugzilla] | |||
* [[Docs| | * [http://docs.fedoraproject.org/release-notes/ Release Notes] - เราแนะนำให้คุณอ่านบันทึกการปรับปรุงสำหรับเวอร์ชั่นของ Fedora ที่คุณใช้อยู่ | ||
* See [[CommunityWebsites| | * [http://bugzilla.redhat.com/ Red Hat's Bugzilla] - ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบั๊กได้ที่นี่ | ||
* [[Docs| Fedora Documentation]] - เอกสารและคู่มือต่าง ๆ ถูกตีพิมพ์ที่นี่ | |||
* See [[CommunityWebsites| เว็ปชุมชน Fedora]] สำหรับข้อมูลอื่น ๆ | |||
[[Category:Documentation]] | [[Category:Documentation]] |
Latest revision as of 14:22, 31 July 2015
เราได้รับคำถามมากมายไม่ต่างจากลีนุกซ์ดิสทริบิวชั่นอื่น บางคำถามก็ถูกถามประจำ เราเลยตอบคำถามที่ถูกถามบ่อยไว้ในหน้า Frequently Asked Questions แห่งนี้ นอกจากคำถามเหล่านี้คุณอาจสนใจอ่านหน้า ความเชื่อปรัมปราเกี่ยวกับ Fedora ซึ่งเคลียร์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเชื่อผิด ๆ ที่มีต่อ Fedora และถ้าหน้า FAQ นี้ไม่มีคำตอบสำหรับคำถามของคุณ เราแนะนำให้คุณลองหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามลิงก์ Fedora Resources ที่ด้านล่างของหน้านี้แทน
เริ่มใช้งาน
ทำไมฉันถึงควรใช้ Fedora?
เพราะ Fedora รวมซอฟท์แวร์ฟรีและโอเพนซอร์สที่ดีที่สุด ทันสมัยที่สุด และเหมาะแก่การใช้งานทั่วไปเท่าที่มีใจปัจจุบัน หน้า Overview ได้อธิบายจุดแข็งของ Fedora เอาไว้หลายประการด้วยกัน
Fedora เหมาะกับใคร?
กลุ่มผู้ใช้งานเป้าหมายของเราคือ:
- ผู้สนใจใช้ลีนุกซ์ทั่วไป
- ผู้ที่ชำนาญการใช้คอมพิวเตอร์
- ผู้ที่น่าจะเป็นสมาชิกและมีส่วนร่วมในอนาคต
- ผู้ใช้งานที่ต้องการระบบที่เพิ่มประสิทธิผลในการทำงานมากขึ้น
ลองอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่ กลุ่มผู้ใช้
ฉันจะหา Fedora ได้จากที่ไหน? และฉันจะแจกจ่าย Fedora ต่อหรือเอาไปประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์อื่นได้หรือเปล่า?
คุณสามารถดาว์นโหลด ใช้งาน และแจกจ่าย Fedora ได้ตามสะดวก เนื่องจากสัญญาแบบฟรีและโอเพนซอร์ส (เช่น GPL) ที่มีผลบังคับใช้ในซอร์สโค๊ดของ Fedora อนุญาตให้คุณแจกจ่ายหรือแก้ไข Fedora อยู่แล้ว โดยมีข้อแม้ว่าคุณต้องทำตาม คู่มือเครื่องหมายการค้าของ Fedora กรุณาอ่านรายละเอียดที่
ฮาร์ดแวร์ของฉันสามารถใช้กับ Fedora ได้หรือเปล่า?
ลีนุกซ์สนับสนุนอุปกรณ์แทบทุกชนิด และ Fedora เองก็รวมไดรเวอร์ทั้งหมดเท่าที่มี จึงทำให้ Fedora มองเห็นอุปกรณ์ของคุณตั้งแต่ตอนติดตั้ง
อย่างไรก็ตามสำหรับฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุนบนลีนุกซ์และรุ่นที่ต้องใช้ไดรเวอร์เฉพาะจากผู้ผลิต คุณอาจต้องติดตั้งไดรเวอร์หรือเฟิร์มแวร์เพิ่มเติมด้วยตัวเอง
คุณสามารถเยี่ยมชมเว็ปไซต์เหล่านี้เพื่อดูว่าลีนุกซ์สนับสนุนฮาร์ดแวร์อะไรบ้าง:
- อแด็ปเตอร์การแสดงผล - http://wiki.x.org/wiki/FAQ
- อแด็ปเตอร์เสียง - http://www.alsa-project.org/
- เครื่องพิมพ์ - http://www.linuxprinting.org/
- กล้องดิจิตัล - http://www.gphoto.org/
- สแกนเนอร์และอุปกรณ์คล้ายกัน - http://www.sane-project.org/
- โมเด็ม - http://linmodems.org/
- การ์ด PCMCIA - http://prism54.org/newdrivers.html, http://rt2x00.serialmonkey.com/wiki/index.php/Hardware, http://ralink.rapla.net/, http://zd1211.ath.cx/
นอกจากนั้น Fedora Release Notes ยังอธิบายปัญหาที่พบกับอุปกรณ์บางรุ่นด้วย:
สำหรับนโยบายการสนับสนุนฮาร์ดแวร์ของ Fedora กรุณาดูที่ การรองรับฮาร์ดแวร์
ฉันจะติดตั้ง Fedora ได้ยังไง?
Fedora มาพร้อมกับระบบการติดตั้งที่ใช้งานง่าย ไม่ว่าจะเป็นแบบกราฟฟิคหรือตัวอักษร กรุณาอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Fedora Installation Guide ในโปรเจค Documentation หรือ Quick Install Guide ในวิกิ:
Live CD/DVD images กับ installation images ปกติต่างกันยังไง?
- Live image มีแพคเกจที่มาใน image น้อยกว่า CD/DVD image ปกติ
- การติดตั้งผ่าน Live image ไม่อนุญาตให้เลือกแพคเกจระหว่างติดตั้งได้ เนื่องจากระบบจะคัดลอกไฟล์ทั้งหมดไปที่ฮาร์ดดิสก์หรือ USB ดิสก์ คุณสามารถติดตั้งแพคเกจเพิ่มเติมหรือลบแพคเกจในเครื่องออกหลังติดตั้งเสร็จเรียบร้อยและทำการรีบู๊ตเครื่องแล้วเท่านั้น
- Live image ไม่สนับสนุนสถาปัตยกรรม i586 และต้องใช้ i686 เป็นอย่างต่ำ
การใช้งาน Fedora
ฉันจะตั้งค่าเครือข่ายได้อย่างไร? Fedora สนับสนุนเครือข่ายไร้สายหรือเปล่า?
Fedora จะทำการตั้งค่าอุปกรณ์เครือข่ายในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณโดยอัตโนมัติผ่าน DHCP ถ้าเครื่องของคุณเชื่อมต่อผ่านสายแลนหรือเราเตอร์ DSL คุณไม่จำเป็นต้องทำอะไรเพิ่มเติม
สำหรับการเชื่อมต่อแบบอื่น คุณสามารถใช้เครื่องมือ Network Manager ซึ่งมาพร้อมกับ Fedora อยู่แล้ว เครื่องมือนี้สนับสนุนการตั้งค่าอัตโนมัติ การตั้งค่าเครือข่ายไร้สาย และการตั้งค่าการเชื่อมต่อกับ VPN ทำให้เครื่องแลปท็อปของคุณสามารถสลับการใช้งานเครือข่ายได้อย่างไร้ที่ติ สำหรับวิธีใช้งานกรุณาอ่าน System Administrator's Guide ที่ docs.fedoraproject.org
นอกจากนั้นลองอ่านคู่มือการใช้งานเครือข่ายไร้สายหรือ Fedora Wireless Guide ที่ docs.fedoraproject.org เพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการสนับสนุนเครือข่ายไร้สายใน Fedora ด้วยก็ดี
ฉันจะติดตั้งซอฟท์แวร์ใหม่ใน Fedora ได้ยังไง? มีโปรแกรมแบบ APT หรือเปล่า?
คุณสามารถจัดการซอฟท์แวร์ในเครื่องของคุณได้โดยใช้เครื่องมือ yum
เครื่องมือนี้จะเชื่อมต่อกับเว็ปไซต์ที่เรียกว่า repositories เพื่อดาวน์โหลดและติดตั้งซอฟท์แวร์แพคเกจเวอร์ชั่นล่าสุด นอกจากนั้น Fedora ยังมีหน้าจอสำหรับใช้งาน yum
แบบกราฟฟิคภายใต้เมนู Applications > Add/Remove Software อีกด้วย (สำหรับ Fedora บางเวอร์ชั่นโปรแกรมนี้จะเรียกว่า Software เฉย ๆ)
ปัจจุบัน Fedora มีซอฟท์แวร์มากกว่า 15 000 แพคเกจให้เลือกใช้
คุณสามารถอ่านคู่มือการใช้ yum
ได้ที่:
คุณสามารถใช้ Apt บน Fedora ได้ แต่เครื่องมือนี้ไม่ได้เป็นตัวจัดการแพคเกจเริ่มต้นของระบบ ลองอ่านข้อมูลเพิ่มเติมที่หน้า APT:
ฉันจะอัพเดตระบบ Fedora ได้ยังไง?
Fedora มาพร้อมกับ PackageKit ที่จะคอยแจ้งเตือนให้คุณทราบโดยอัตโนมัติเมื่อมีอัพเดตใหม่ แต่ถ้าคุณต้องการอัพเดตเอง คุณสามารถใช้เครื่องมือจากเมนู System > Administration > Update System ซึ่งจะทำการปรับปรุงซอฟท์แวร์ทั้งหมดในเครื่องด้วยเวอร์ชั่นใหม่ที่อยู่ใน yum
และถ้าคุณต้องการอัพเดตผ่าน command-line คุณก็สามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง:
su -c 'yum update'
หรือ
su -c 'dnf update' (สำหรับ Fedora 22)
กรุณาใส่รหัสผ่านของผู้ใช้ root
เมื่อระบบถามถึง
Fedora สามารถอัพเดตตัวเองโดยอัตโนมัติได้หรือเปล่า?
ได้ แต่อาจไม่เหมาะสำหรับบางระบบ กรุณาอ่านหน้า AutoUpdates เพื่อดูว่าคุณควรใช้คุณสมบัตินี้กับระบบ Fedora ของคุณหรือเปล่า คุณสามารถตั้งค่าการอัพเดตตัวเองโดยอัตโนมัติได้ที่เมนู System > Preferences > System > Software Updates
ฉันจะรู้ได้ยังไงว่ามีซอฟท์แวร์เวอร์ชั่นใหม่ออกแล้ว?
Fedora มาพร้อมกับ PackageKit ซึ่งจะคอยแจ้งเตือนให้คุณรู้เมื่อมีอัพเดตใหม่ ๆ แต่ถ้าคุณอยากได้รับข่าวสารทันที เราแนะนำให้ดูที่หน้าประกาศแพคเกจใหม่หรือสมัครรับ RSS feed:
- หน้าประกาศอัพเดตแพคเกจของ Fedora Project : https://lists.fedoraproject.org/mailman/listinfo/package-announce
- RSS feeds: http://fedoraproject.org/infofeed/
คุณสามารถสมัครรับจดหมายข่าวเมื่อมีแพคเกจเวอร์ชั่นใหม่ได้ทาง Fedora Project announcements mailing list
- Fedora Project announcements mailing list: https://lists.fedoraproject.org/mailman/listinfo/announce
ฉันสามารถติดตั้งโปรแกรมผ่าน CD/DVD โดยใช้ Yum หรือ PackageKit ได้หรือเปล่า?
ตอนนี้สำหรับ PackageKit ยังไม่ได้ แต่คุณสามารถใช้แผ่นซีดีเป็น yum repository ได้ กรุณาอ่านที่ http://www.city-fan.org/tips/SubsetRepositories
ทำไม Fedora ถึงไม่สนับสนุนฟอร์แมตอย่าง MP3 หรือ MPEG ล่ะ?
MP3 และ MPEG เป็นฟอร์แมตซึ่งอยู่ภายใต้สิทธิบัตรที่เข้ากันไม่ได้กับสัญญาการใช้งานของ Fedora
Fedora สนับสนุนและแจกจ่ายเฉพาะซอฟท์แวร์ฟรีและโอเพนซอร์ส ด้วยเหตุนี้เทคโนโลยีที่อยู่ภายในลิขสิทธิ์อันเข้มงวดหรือข้อจำกัดด้านสิทธิบัตรจึงไม่ถูกรวมอยู่ใน Fedora ถ้าคุณต้องการเล่นภาพและเสียงใน Fedora ไม่ว่าจะเป็น MP3 หรือ MPEG กรุณาอ่านที่ส่วน มัลติมีเดีย
ทำไมฉันถึงเล่นแผ่นหนังใน Fedora ไม่ได้ล่ะ?
เพราะแผ่นหนัง DVD อยู่ภายใต้สิทธิบัตรซึ่งเข้ากันไม่ได้กับสัญญาการใช้งานของ Fedora นอกจากนั้นแผ่น DVD ส่วนใหญ่ยังมีเทคโนโลยีป้องกันการคัดลอกแผ่น ทำให้โปรแกรมที่ใช้อ่านแผ่นเหล่านั้นละเมิดกฏหมาย Digital Millennium Copyright Act (DMCA) ซึ่งเป็นกฏหมายลิขสิทธิ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา
Fedora สนับสนุนและแจกจ่ายเฉพาะซอฟ์ทแวร์ฟรีและโอเพนซอร์สเท่านั้น เทคโนโลยีที่อยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรจึงไม่สามารถถูกรวมอยู่ใน Fedora ได้ ถ้าคุณต้องการดูหนังฟังเพลงใน Fedora หรือดูแผ่นหนัง DVD กรุณาอ่านที่ส่วน มัลติมีเดีย
ทำไม Fedora ถึงไม่มีซอฟท์แวร์ Adobe's Acrobat Reader, Adobe's Flash Player, หรือ RealPlayer ล่ะ?
Fedora สนับสนุนและแจกจ่ายเฉพาะซอฟ์ทแวร์ฟรีและโอเพนซอร์ส โปรแกรมที่ไม่อยู่ในเงื่อนไขสองข้อที่ว่านั้นไม่สามารถถูกรวมอยู่ใน Fedora ได้ อย่างไรก็ตามคุณสามารถดาว์นโหลดซอฟท์แวร์เหล่านี้จากเว็ปไซต์ของบริษัทผู้ผลิตเพื่อใช้งานใน Fedora ได้ถ้าต้องการ สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม ลองอ่านหน้า สิ่งต้องห้าม
Fedora มี Java หรือเปล่า?
มีสิ Fedora ใช้ OpenJDK ซึ่งเป็น Java ภายใต้สัญญาการใช้งานแบบฟรีและโอเพนซอร์ส ลองดูหน้า JavaFAQ สำหรับการใช้ Java ใน Fedora
อะไรคือ SELinux และฉันจะหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมันได้ที่ไหน?
Fedora เป็นระบบปฏิบัติการใหญ่อันดับต้น ๆ ที่ใช้ระบบความปลอดภัย Mandatory Access Control (MAC) ผ่าน SELinux framework การตั้งค่า SELinux ใน Fedora ช่วยเพิ่มความปลอดภัยโดยจำกัดสิทธิ์ของ process ที่ทำงานในระบบ การจำกัดสิทธิ์ดังกล่าวช่วยทำให้ปัญหาด้านความปลอดภัยของซอฟท์แวร์แต่ละตัวไม่ลามไปสู่ทั่วทั้งระบบ เพราะซอฟท์แวร์ที่มีปัญหาสามารถเข้าถึงทรัพยากรของระบบแค่บางส่วนเท่านั้น
สำหรับสภาพแวดล้อมที่ต้องการความปลอดภัยขั้นสูง SELinux ยังมี policy แบบ 'strict' ซึ่งเป็นนโยบายแบบเข้มงวดที่สุดไว้ให้ใช้ด้วย นอกจากนั้นยังมีระบบความปลอดภัยที่ใช้ SELinux framework อื่น ๆ อีกเช่น MLS, MCS และ RBAC
ลองอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ SELinux ใน Fedora ได้ที่:
อะไรคือ Virtualization? และฉันจะเรียนรู้วิธีใช้งานมันได้ที่ไหน?
Fedora สนับสนุน virtualization ซึ่งทำให้คุณสามารถใช้ระบบปฏิบัติการหลายระบบได้พร้อมกันบนเครื่องเครื่องเดียว โดยระบบปฏิบัติการแต่ละระบบจะได้รับการแบ่งปันทรัพยากรบางส่วนจากระบบปฏิบัติการหลังบนเครื่อง host นอกจากนั้นผู้ดูแลระบบยังสามารถย้ายระบบปฏิบัติการที่ทำงานอยู่ไปยังเครื่องอื่นได้โดยไม่ทำให้ขาดช่วงการใช้งานอีกด้วย
ลองอ่านหน้า Virtualization ดูสิ
Fedora เวอร์ชั่นถัดไปจะออกเมื่อไหร่? พอจะมีหมายกำหนดการไหม?
หมายกำหนดการสำหรับเวอร์ชั่นถัดไปอยู่ที่หน้า Fedora Project Releases Schedule
Fedora แต่ละรุ่นจะได้รับการสนับสนุนจนถึงเมื่อไหร่?
การสนับสนุนของแต่ละรุ่นจะสิ้นสุดลงประมาณหนึ่งเดือนหลังจากออกรุ่นถัดไป 2 รุ่น ลองอ่านเกี่ยวกับอายุของแต่ละรุ่นที่นี่:
ฉันจะหาข้อมูลเกี่ยวกับอัพเดตความปลอดภัยของ Fedora ได้ที่ไหน?
ดูที่หน้า Fedora Security Advisories
นโยบายการอัพเดตของ Fedora Project เป็นยังไง?
การออกอัพเดตสำหรับแก้ไขปัญหาความปลอดภัย แก้ไขบั๊ก และเพิ่มฟีเจอร์ใหม่นั้นเป็นได้รับการสนับสนุนจาก Red Hat และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การอัพเดตจะทำเป็นขั้นตอน โดยมีการแจ้งสู่สาธารณะเพื่อให้วิพากย์วิจารณ์ และเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมก็จะถูกปล่อยออกเพื่อใช้งาน ในกรณีเลยร้ายที่สุด แพคเกจที่มีปัญหาอาจถูกถอดออกจาก Fedora Project ถ้าช่องโหว่ด้านความปลอดภัยนั้นร้ายแรงและส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อโปรเจคโดยรวม
การออกอัพเดตนั้นไม่ถือเป็นการสนับสนุนอย่างเป็นทางการ แต่เป็นเสมือนการพัฒนาซอฟท์แวร์นั้น ๆ อย่างต่อเนื่องโดยแก้ไขข้อผิดพลาด อัพเดตที่อาจมีผลต่อความเสถียรหรือเรื่องความปลอดภัยอาจถูกปล่อยให้กับนักพัฒนาเพื่อทดลองใช้งานก่อนที่จะเผยแพร่สู่สาธารณะในอนาคต นอกจากนั้นการอัพเดตระบบอย่างสม่ำเสมอก็ไม่เทียบเท่าการอัพเกรด release ใหม่ ถ้าคุณต้องการใช้ Fedora เวอร์ชั่นใหม่ คุณจะต้องทำการอัพเกรดดิสทริบิวชั่นเอง สำหรับระยะเวลาการสนับสนุนการอัพเดตของแต่ละเวอร์ชั่นคุณสามารถอ่านได้ที่หน้า LifeCycle
ข้อตกลงการสนับสนุน หรือ SLA (Service Level Agreement) จาก Red Hat นั้นไม่ครอบคลุมถึงอัพเดตสำหรับ Fedora Project ด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการอัพเดตเพื่อแก้ไขช่องโหว่ด้านความปลอดภัย แต่การอัพเดตแพคเกจจากโปรเจคอื่น ๆ นั้นขึ้นอยู่กับทีมที่พัฒนาซอฟท์แวร์เหล่านั้น ถ้านักพัฒนาไม่ตอบสนองต่อปัญหาด้านความปลอดภัยที่ได้รับแจ้งในเวลาที่สมควร Red Hat อาจสงวนสิทธิ์ในการปลดระวาง (deprecate) แพคเกจเหล่านั้นชั่วคราว หากผู้ใช้ต้องการได้รับการสนับสนุนแบบ SLA ผู้ใช้จะต้องซื้อ Red Hat Enterprise Linux ในแบบที่เหมาะกับการใช้งานของตัวเอง
ฉันใช้ Fedora เวอร์ชั่นเบต้าอยู่ จะอัพเกรดเป็นเวอร์ชั่น final ได้หรือเปล่า?
ได้สิ ลองอ่านหน้า อัพเกรดจากเวอร์ชั่นเบต้าเป็น final
ฉันใช้ Fedora เวอร์ชั่นเก่าอยู่ จะอัพเกรดได้ยังไง?
สำหรับวิธีการอัพเกรด กรุณาอ่านหน้า การอัพเกรดดิสทริบิวชั่น
ความช่วยเหลือ
ฉันจะขอความช่วยเหลือได้ที่ไหน?
นอกจากเอกสารในอินเทอร์เน็ตแล้ว คุณสามารถขอความช่วยเหลือได้ผ่านออนไลน์ฟอรัม ห้องแชท และเมล์ลิสต์ของชุมชน Fedora ลองดูที่หน้า Communicate
กรุณาอย่าติดต่อนักพัฒนา Fedora โดยตรงหรือใช้ช่องสื่อสารสำหรับนักพัฒนาเพื่อขอความช่วยเหลือในการใช้งาน เนื่องจากนักพัฒนามักจะยุ่งอยู่กับการเขียนและดูแลซอฟท์แวร์ ทำให้ไม่ค่อยมีเวลาตอบคำถามเกี่ยวกับการใช้งานเท่าไหร่นัก
ฉันได้ยินคำศัพท์ที่ไม่ค่อยคุ้นเลย มีที่ไหนที่อธิบายคำเหล่านี้มั้ย?
กรุณาดูที่หน้า Glossary
ฉันจะรายงานบั๊กหรือขอฟีเจอร์ของแพคเกจใน Fedora ได้ยังไง?
กรุณาดูที่หน้า รายงานบั๊กและขอฟีเจอร์ใหม่
ฉันจะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยใน Fedora ได้ยังไง? และจะรายบั๊กเรื่องนี้ได้ยังไง?
กรุณาดูที่หน้า ความปลอดภัย
ฉันคิดว่าพบปัญหาที่เกิดจากฮาร์ดแวร์ของฉัน จะทำยังไงดี?
ลองตรวจสอบที่หน้า ปัญหาเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ ก่อนที่จะรายงานบั๊ก
ฉันจะขอแพคเกจเวอร์ชั่นใหม่ใน Fedora ได้ที่ไหน?
ยื่นคำขอที่ http://bugzilla.redhat.com สำหรับแพคเกจที่คุณต้องการให้อัพเดต ถ้าสามารถระบุรายละเอียดเพิ่มเติมด้วยว่าทำไมคุณถึงต้องการเวอร์ชั่นใหม่ก็จะมีประโยชน์ต่อผู้ดูแลแพคเกจมาก
ฉันมีคำถามอื่นอีก จะขอความช่วยเหลือได้ที่ไหน?
ลองดูที่หน้า Fedora Resources ที่ด้านท้ายของหน้านี้
ฉันจะบริจาคเงินให้ Fedora Project ได้หรือเปล่า?
ได้สิ คุณสามารถบริจาคทั้งเวลาของคุณเพื่อช่วย Fedora Project หรือจะบริจาคเงินก็ได้ (แต่อาจจะต้องใช้ความพยายามนิดนึงนะ) ลองอ่านหน้า วิธีการช่วย
เกี่ยวกับ Fedora
Fedora คืออะไร?
Fedora is a Linux-based operating system that showcases the latest in free and open source software. Fedora is always free for anyone to use, modify, and distribute. It is built by people across the globe who work together as a community: the Fedora Project. The Fedora Project is open and anyone is welcome to join. The Fedora Project is out front for you, leading the advancement of free, open software and content.
ลองดูหน้า Overview
อะไรคือวัตถุประสงค์ของ Fedora?
ทำไมถึงเรียกว่าโปรเจคแทนที่จะเป็นผลิตภัณฑ์?
คณะกรรมการกำหนดแนวทางที่ Red Hat ได้ตัดสินใจจากบทเรียนที่ได้รับตอนสร้าง Red Hat Linux และคิดว่าแทนที่จะต้องแลกหลักการหลาย ๆ อย่าง บริษัทควรจะทุ่มเทไปกับการสร้างโปรเจคที่ถูกผลักดันโดยชุมชนมากกว่า ถ้าเป็นเช่นนี้ Fedora ก็จะไม่ต้องถูกกดดันเส้นตายในการออกผลิตภัณฑ์เวอร์ชั่นใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองต่อตลาดเหมือนผลิตภัณฑ์ทางการค้า แต่จะถูกกำหนดโดยชุมชนเอง
การเปลี่ยนเป็นโปรเจคมีผลดียังไง?
การเปลี่ยนจากผลิตภัณฑ์เป็นโปรเจคทำให้:
- ผู้ใช้ได้รับซอฟท์แวร์รุ่นใหม่ล่าสุดเท่าที่จะทำได้
- เปิดโอกาสให้นักพัฒนาและผู้ใช้ได้ร่วมกันสร้างกระบวนการทำงานที่เหมาะสมให้กับตัวเองและ Fedora Project
- ทำให้ Fedora Project สามารถพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ดีเยี่ยมได้อย่างต่อเนื่อง
- ทำให้การพัฒนาเร็วยิ่งขึ้น โดยใช้วิธีการทำงานแบบโอเพนซอร์ส
Red Hat จะให้การสนับสนุนทางเทคนิคกับ Fedora Project ด้วยหรือเปล่า?
เปล่า Fedora Project จะไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการทั้งทางโทรศัพท์หรือทางอื่น ๆ จาก Red Hat จริงอยู่ที่ผลิตภัณฑ์จาก Red Hat ใช้บางส่วนที่พัฒนาจาก Fedora แต่การพัฒนาของ Fedora นั้นแยกทำโดยเป็นเอกเทศและไม่เกี่ยวกันกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ Red Hat
Fedora Project จะถูกปล่อยสู่สาธารณะได้ยังไง?
Fedora จะออกเวอร์ชั่นใหม่ในรูปแบบ ISO image สำหรับแผ่น CD และ DVD และยังถูกแจกจ่ายเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับขายผ่านบริษัทที่ขายผ่านช่องทางออนไลน์ด้วย โดยอาจถูกแจกจ่ายที่การประชุมกลุ่มผู้ใช้ลีนุกซ์ หรือพ่วงไปกับนิตยสารหรือหนังสือ หรือแม้แต่ถูกแจกจ่ายในงานนิทรรศการ นอกจากนั้น Fedora ยังอาจถูกเผยแพร่ผ่านทางเครือข่ายสำหรับแชร์เนื้อหา เช่น BitTorrent ด้วย
Fedora จะถูกวางขายตามร้านหรือเปล่า?
Fedora จะไม่ถูกแพ็คใส่กล่องและวางขายตามร้าน และจะไม่มีราคาตั้งด้วย การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ Fedora นั้นคงไม่เหมาะสำหรับการวางขายตามร้าน — เพราะกว่าจะทำผลิตภัณฑ์ใส่กล่องออกมาได้นั้นต้องใช้เวลาและทรัพยากรมากมาย ถ้าต้องทำแพคเกจจิ้งสำหรับเวอร์ชั่นใหม่ที่ออกทุก ๆ 6 เดือนคงเป็นเรื่องที่ยากทีเดียว
นอกจากนั้นการออกดีไซน์และผลิตหีบห่อก็ทำให้เสียเวลาในการวางขาย ซึ่งทำให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้ซอฟท์แวร์ล่าสุดได้ตั้งแต่ตอนที่ออกใหม่ ถ้าคุณสนใจซื้อสินค้าเราแนะนำให้คุณลองดูผลิตภัณฑ์ของ Red Hat ที่เว็ปไซต์ของบริษัทฯ
อะไรคือความแตกต่างระหว่าง "Fedora ดิสทริบิวชั่น", "The Fedora Project" และ "Fedora"?
Fedora Project ประกอบไปด้วยโปรเจคย่อยหลายโปรเจค Fedora ดิสทริบิวชั่น คือโปรเจคแม่ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแพลทฟอร์มหลัก ส่วน Fedora คือชื่อที่ใช้หมายถึง Fedora Project โดยรวม แต่บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อหมายถึง Fedora ที่เป็นระบบที่ประกอบไปด้วยซอฟท์แวร์ต่าง ๆ ใน Fedora Project
ฉันจะติดต่อผู้ดูแลโปรเจคย่อยได้ยังไง?
เริ่มจากเมล์ลิสต์ของโปรเจคนั้น ๆ ก่อน คุณสามารถติดต่อผู้นำโปรเจคและสมาชิกของโปรเจคผ่านช่องทางนี้ได้ดีที่สุด นอกจากนั้นคุณยังสามารถไปดูที่หน้า การสื่อสาร
Fedora Project มีการจัดการและบริหารยังไง?
Fedora Project ถูกดูแลโดย Fedora Council ซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกชุมชนที่ได้รับเลือก และบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งที่ลงแรงให้โปรเจคและได้รับการยอมรับ และตำแหน่งอื่นที่แต่งตั้งโดย Red Hat
Fedora Project ประกอบไปด้วย โปรเจคย่อย ๆ หลายโปรเจค ซึ่งรวมตัวกันเป็นแพลทฟอร์มซึ่งถูกบริหารโดยชุมชน โปรเจคย่อยต่าง ๆ เป็นเอกเทศต่อกัน แต่ในขณะเดียวกันก็ทำงานร่วมกันตามแนวทางส่วนรวมที่กำหนดเอาไว้
โปรเจคย่อยแต่ละโปรเจคจะมีผู้นำหรือกลุ่มผู้นำซึ่งเป็นผู้จัดการและนำการพัฒนาของโปรเจค การทำงานใน Fedora Project นั้นเป็นไปตามหลัก ผู้นำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งจะให้อำนาจและความรับผิดชอบแก่บุคคลที่มีความสามารถและทุ่มเทกำลังกายและใจมากกว่าคนอื่น คนที่ได้รับเลือกให้เป็นผู้นำก็เพราะพวกเขาพิสูจน์แล้วว่าสามารถเป็นได้และก็ยินดีที่จะเป็น
โปรเจคย่อยของ Fedora มีการบริหารจัดการอย่างไร?
แต่ละโปรเจคจะมีผู้นำโปรเจคหรือกลุ่มที่ปรึกษาที่คอยนำทิศทาง โดยปกติบุคคลที่เข้าร่วมจะมีอิสระในการเลือกงานที่ต้องการทำพอสมควร โดยมีข้อแม้เพียงแค่ให้ทำตามข้อกำหนดของกลุ่มที่ปรึกษา และมีการแจ้งเมื่อจะสร้างอะไรใหม่ ๆ
เช่นเดียวกันกับโปรเจค Fedora โดยรวม สมาชิกภาพของแต่ละคนขึ้นอยู่กับประโยชน์ที่สมาชิกนั้น ๆ ทำให้กับโปรเจค และการนำเสนอไอเดียและแนวคิดใหม่ ๆ ก็มักจะถูกรับฟังและสร้างชื่อให้กับสมาชิกที่นำเสนอในชุมชน
สมาชิกของโปรเจคสามารถร่วมพูดคุยกับคณะที่ปรึกษาได้ในห้อง IRC การประชุมนี้เป็นการประชุมเปิดซึ่งมีบันทึกการประชุมเพื่อให้สาธารณะชนได้อ่านตลอดเวลา บางครั้งประวัติการสนทนาในห้องแชทก็ถูกบันทึกไว้เพื่อเผยแพร่ด้วย
โปรเจคย่อยต่าง ๆ มักเก็บหมายกำหนดการของตัวในวิกิแห่งนี้ ลองดูที่หน้า Projects เพื่อลิงก์ไปยังข้อมูลของโปรเจคย่อยแต่ละโปรเจค
Fedora เป็นคนจ่ายงานให้กับสมาชิก หรือสมาชิกเป็นคนกำหนดเอง?
สมาชิกที่สนใจเป็นคนเสนอตัวเพื่อรับงานที่ตัวเองต้องการทำ อย่างไรก็ตามเพื่อไม่ให้เป็นการเสียแรงซ้ำซ้อน เราแนะนำให้คุณแจ้งเมล์ลิสต์ของโปรเจคที่คุณต้องการร่วมงานด้วยเพื่อให้สมาชิกคนอื่นได้รับทราบว่าคุณกำลังจะทำงานอะไร ถ้าคุณยังนึกไม่ออกว่าจะทำอะไรดี ลองดูที่หน้า เข้าร่วม เพื่อดูหัวข้อต่าง ๆ ที่คุณสามารถช่วยได้ และถ้าคุณต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม ลองดูที่หน้า Fedora Mentors
Fedora มีส่วนร่วมกับโรงเรียนหรือองค์กรไม่แสวงหาประโยชน์ทางการค้าด้วยหรือเปล่า?
ณ ปัจจุบันนี้ยังไม่มี ถ้าคุณมีไอเดียดี ๆ สำหรับการมีส่วนร่วมที่ต้องการนำเสนอ กรุณาแจ้งไปที่ การตลาดของ Fedora โรงเรียนหรือองค์กรฯ ที่สนใจสามารถเข้าร่วมการสนทนาได้
Fedora กับ LUGs มีความเกี่ยวข้องกันหรือเปล่า?
เราพยายามทำงานร่วมกับ Linux User Groups มากเท่าที่จะทำได้ รายชื่อผู้ติดต่อของ LUG อยู่ในหน้า LinuxUserGroups ถ้าคุณต้องการเป็นตัวแทน LUG ของคุณ กรุณาเพิ่มชื่อ LUG ของคุณไปที่หน้าดังกล่าว
Can schools and non-profits reference the "Fedora Project" name and other Fedora marks if they are interacting with the Fedora community?
Yes, as long as they make it clear whether or not they are representing the Project. If they would like to represent the Project, they can approach and coordinate with the Fedora Marketing team. This and other uses of Fedora marks are subject to the terms of the Trademark Guidelines .
Is there a certification program for third-party applications running on Fedora?
No. The Fedora Project is dedicated to providing the best in free and open source software. Fedora leads in open solutions, and is developed with a rapid release cycle. Fedora Package Collection allows a vast array of additional Free and open source solutions to be contributed by the community and maintained for Fedora. Beyond these projects, the Fedora Project does not certify any third-party applications.
Formal ISV certification is available for Red Hat Enterprise Linux, which shares many of Fedora's features, but is provided on a longer release cycle and is commercially supported for 7 years.
Is there a certification program for hardware that works with Fedora?
Fedora runs on a large variety of hardware, and the list of working hardware is constantly growing larger. Because Fedora improvements occur very rapidly and consistently, including hardware support, a Hardware Compatibility List was deemed too time-consuming and not worthwhile. Alternative methods of tracking working hardware have been suggested, but the consensus is that manually maintaining a complete list is unfeasible.
We are collecting hardware information directly from the users anonymously in a opt-in method, through the smolt project. We are always trying to find ways to improve Fedora's hardware support, and welcome constructive feedback.
For more information,please see it at Smolt.
A compatibility list is maintained for Red Hat Enterprise Linux at http://bugzilla.redhat.com/hcl. It will closely parallel Fedora's compatibility.
Is the Fedora Project independent of Red Hat, Inc.?
The Fedora Project is a community project, separate from Red Hat, but Red Hat sponsors the Fedora Project and provides a great deal of valuable management and resources to the Fedora Project. Red Hat uses the material that the Fedora Project produces to develop its enterprise platform offerings. Red Hat has a strong interest in Fedora, and the success of the Fedora Project has been thanks to the great contributions of Red Hat.
What is the difference between Fedora and Red Hat Enterprise Linux ?
Fedora has the latest and greatest software and new releases every six months. Fedora is the upstream of Red Hat Enterprise Linux (RHEL). Red Hat Enterprise Linux has a conservative release and update cycle and is commercially supported by Red Hat.
Refer to Red Hat Enterprise Linux for more details.
What happened to 'Fedora Core?'
Fedora Project originally had two repositories, Fedora Core and Fedora Extras. Packages in Fedora Core repository was maintained by Red Hat developers and was part of official Fedora media and Fedora Extras was a add-on online repository open to volunteers. As the community around Fedora project grew, technical advantages (packaging guidelines, package review process in Fedora Extras) and limitations (packages in Fedora Core cannot depend on Fedora Extras but only vice versa, Fedora Extras packages were not included in official media) and other non technical advantages (Red Hat developers and community volunteers can work together in a team, no perception of any repository being treated as second class etc) led to a merge of Fedora Core and Fedora Extras into a single repository just before the release of Fedora 7. Since the repositories have merged, Fedora Core is no more. The releases are simply called Fedora.
Why does the tag in my packages say "fc"?
"fc" used to denote "Fedora Core. However after the Fedora 7 release, it has been retroactively renamed to "Fedora Collection" along the lines of GCC which is now "GNU Compiler Collection". From the perspective of version comparisons in RPM, it was easier to adopt a new meaning for c rather than dropping it simply because it refers to the old Core appellation.
Why should I help?
Your name in lights, an online CV, and maybe a trip to a FUDCon.
First, contribute to Fedora and you may get your name in the distribution. Hey, fair is fair.
Second, if you're a Fedora contributor, you don't need a fancy resume; you can just tell potential employers to 'Google' your name.
Third, top Fedora contributors can receive travel stipends to attend the Fedora Users and Developers Conference nearest them. You will have the opportunity to meet some of the giants of the open source movement in person, as their peers and equals.
And last, you'd be playing with this stuff anyway. Spend your time doing stuff that you will enjoy and that others will use. What more incentive do you need? Join us.
I'm interested in contributing to Fedora, where can I get started?
Refer to our join page to learn where help is needed and how to get going. You might also be interested in our Mentors program.
สำหรับผู้มีส่วนร่วมใน Fedora
มีไอเดียใหม่ ๆ อะไรที่สำคัญกับ Fedora บ้าง?
ลองดูหน้า FedoraBounties เพื่อดูไอเดียที่สำคัญสำหรับ Fedora สิ
ฉันจะแพคเกจซอฟท์แวร์ให้ผู้ใช้ Fedora ได้ยังไง? และฉันจะหาข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยทำแพคเกจได้ที่ไหน?
หน้า หมวดหมู่ผู้ดูแลแพคเกจ จะช่วยคุณได้
ฉันจะหาข้อมูลในการมีส่วนร่วมกับ Fedora Documentation Project ได้ที่ไหน?
ลองดูลิงก์ที่หน้า DocsProject ดูสิ
ฉันจะหาคำตอบสำหรับคำถามอื่นได้ที่ไหน?
- Release Notes - เราแนะนำให้คุณอ่านบันทึกการปรับปรุงสำหรับเวอร์ชั่นของ Fedora ที่คุณใช้อยู่
- Red Hat's Bugzilla - ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบั๊กได้ที่นี่
- Fedora Documentation - เอกสารและคู่มือต่าง ๆ ถูกตีพิมพ์ที่นี่
- See เว็ปชุมชน Fedora สำหรับข้อมูลอื่น ๆ